เซลล์ของสิ่งมีชีวิตประด้วยด้วย สารอนินทรีย์ และ สารอินทรีย์ ซึ่งสารอินทรีย์แบ่งออกเป็นกลุ่มย่อยๆหลายกลุ่ม กลุ่มที่สำคัญคือ สารชีวโมเลกุล (biomolecule) ซึ่งมี 3 กลุ่มใหญ่คือ
1 คาร์โบไฮเดรต ( carbohydrate )
2 โปรตีน (protein)
3 ลิพิด (lipid)
Carbohydrate
แยกย่อยออกเป็น 4 กลุ่มคือ monosaccharide , disaccharide , oligosaccharide , polysaccharide
polysaccharide มีโมเลกุลขนาดใหญ่ มีคุณสมบัติที่จะสร้างพันธะกับสารละลายไอโอดีน รวมเป็นสารประกอบเชิงซ้อน ที่มีสีต่างกันตามชนิดของ polysaccharide
การตรวจสอบ นิยมใช้ สารละลายไอโอดีนที่ละลายในสารละลายพอแทสเซียมไอโอไดน์ (I2 in KI)
polysaccharide พวก อะไมโลส เมื่อมีพันธะกับ I2 จะมีสีน้ำเงิน
polysaccharide พวก อะโมโลเพกติน ได้สารละลาย สีน้ำเงินเข้ม
polysaccharide พวก ไกลโคเจน ได้สารละลายสี น้ำตาลแดง
น้ำตาล ได้สารละลายไม่มีสี (เพราะน้ำตาลมีโมเลกุลขนาดเล็ก I2 ไม่สามารถเข้ามาแทรกได้)
polysaccharide ยึดเกาะกันด้วยพันธะ glycosidic bond ( ไกลโคซิดิก บอนด์) ถูกทำลายได้ด้วย เอนไซม์ , กรด , ความร้อน โดย polysaccharide ถูกย่อยสลายเป็น monosaccharide โดยสามารถนำมาตรวจสอบได้ด้วย สารละลายเบนเนดิก (Benedic reagent) ซึ่งประกอบไปด้วย copper sulphate , sodium carbonate, sodium citrate ซึ่งจะตกเป็นตะกอนสีแดงอิฐ เรียกว่า reducing sugar
Protein
protein เกิดจากกรดอะมินิ มาต่อกันด้วยพันธะเพปไทด์ โดยโปรตีนอยู่ในรูปของ enzyme ในส่วนประกอบของเซลล์หรือของเหลวของสิ่งมีชีวิต
กรด , เบส , แอลกอฮอล์ , ความร้อน มีผลทำให้ โปรตีนเกิดการเสียสภาพ (denature) ตกตะกอน หรือ จับตัวเป็นก้อน
โปรตีนสามารถตรวจสอบได้จาก สารละลาย biuret CuSO4 ที่มีอยู่ในสารละลาย biuret เมื่อสภาวะด่างทำปฏิกิริยากับโปรตีนจะได้สารประกอบเชิงซ้อน สีม่วง(violet) ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเรียกว่า ปฏิกิริยาไบยูเรท (biuret reaction)
Lipid
Saturday, October 13, 2007
V : สารโมเลกุลของสิ่งมีชีวิต
Subscribe to:
Post Comments (Atom)
No comments:
Post a Comment