1. เมื่อต้องการปรับแสงไปยังวัตถุที่ศึกษาในกล้องจุลทรรศน์ ควรปรับที่ส่วนประกอบใดของกล้องจุลทรรศน์
ตอบ ก. Iris diaphragm (ไดริสไดอะแฟรม)
ข. Condenser (คอนเดนเซอร์)
2. ภาพที่เกิดขึ้นครั้งแรกจากการขยาย ของเลนส์ใกล้วัตถุ เกิดที่ส่วนใดของกล้องจุลทรรศน์
ตอบ เลนส์ใกล้วัตถุ ( objective lens)
3. ภาพสุดท้ายของวัตถุที่มองเห็นจากกล้องจุลทรรศน์จะเกิดห่างจากตา 10 นิ้ว เนื่องจาก body tube มีความยาวเท่าใด
ตอบ 160 mm.
4. ก. เลนส์ใกล้วัตถุที่มีกำลังขยายยิ่งสูง จะมีระยะการทำงานของเลนส์ยิ่ง สั้นลง
ข. ค่าที่บอกถึงขนาดที่เล็กที่สุดที่กล้องจุลทรรศน์สามารถแยกรายละเอียดได้คือ ความสามารถของระบบเลนส์หรือกล้องจุลทรรศน์ ที่จะแสดงหรือแยกรายละเอียดได้ ( resolving power หรือ resolution [r] )
5. ก. เมื่อต้องการหาระยะการทำงาน(ระยะโฟกัส) ของเลนส์ใกล้วัตถุ ควรใช้ส่วนประกอบใดของกล้องจุลทรรศน์
ตอบ coarse adjustment knob (วงล้อหยาบ)
ข. การใช้ immersion oil กับเลนส์ใกล้วัตถุกำลังขยาย 100 เท่า เพื่อ ลดการหักเหของแสง หรือ ป้องกันการหักเหของแสง จะช่วยให้เลนส์มีประสิทธิภาพดีขึ้น (N.A. เพิ่มขึ้น)
ค. เมื่อต้องการหาระยะการทำงานของเลนส์ใกล้วัตถุให้ละเอียดยิ่งขึ้น ควรใช้ส่วนประกอบใดของกล้องจุลทรรศน์
ตอบ fine adjustment knob (วงล้อละเอียด)
.....................................................................................
6. ข้อใดที่มีการเรียงลำดับขั้นตอนการจัดการตัวของ โครงสร้างร่างกายสัตว์ถูกต้องที่สุด
ตอบ 4. เซลล์ เนื้อเยื่อ อวัยวะ ระบบ รูปร่าง
7. จากห้องปฏิบัติการเนื้อเยื่อสัตว์ อวัยวะที่มีโครงสร้างของเนื้อเยื่อชนิดนี้คือ
ตอบ ลำใส้เล็ก
8. รูปที่เห็นเป็นเซลล์ของ
ตอบ กล้ามเนื้อเรียบ
9. รูปที่เห็นนี้เป็นการจัดตัว เป็นระบบฮาร์เวอร์เชียน(Harversian system) ของเซลล์ใด
ตอบ 1. Osteocyte (เซลล์กระดูก p.60 )
10. เนื้อเยื่อที่ประกอบขึ้นด้วยเซลล์ชนิดนี้ทำหน้าที่เกี่ยวกับอะไร (รูปเซลล์ประสาท)
ตอบ การรับสัมผัส
......................................................................................
Chemistry of Life
11. ก. จากการทดลองคาร์โบไฮเดรทที่เป็น Polysaccharide คือ แป้ง (strach )
ข. การทดสอบ Polysaccharide โดยใช้ I2/KI ( สารละลายไอโอดีนที่ละลายในสารพอแทสเซียมไอโอไดน์ ) p.79
12. คุณสมบัติของ Polysaccharide จะถูกทำลายได้โดยใช้ กรดไฮโดรคลอริก (HCl) และ ความร้อน p.79
13. ก. โปรตีนที่ใช้ในการทดลองคือ น้ำตับบด
ข. สารที่มี peptide linkage จะให้สารละลายสี ม่วง กับ Biuret reaction
p.80
14. ก. โปรตีนละลายได้ดีใน NaOH (โซเดียมไฮดรอกไซด์ )
ข. เมื่อนำโปรตีนไปต้ม โปรตีนจะเปลี่ยนสภาพเป็น ตะกอน (โปรตีนจับเป็นก้อน)
p.82
15. ก. ไขมันละลายได้ดีใน CCl4
ข. ไขมันไม่ละลายใน H2O , ethanol
p.83
....................................................................................
เรื่อง Enzyme
16. เมื่อ enzyme catalase ทำให้ H2O2 2 โมเลกุล แตกตัวโดยปฏิกิริยา oxidation และ reduction จะได้สารอะไร
2H2O2 -------> 2H2O + O2
ก. 2H2O
ข. O2
17. สารที่ใช้ทดสอบหาปริมาณ H2O2 ที่เหลือจากการทดลองในห้องปฏิบัติการมีชื่อและสูตรทางเคมีเป็นอย่างไร
ตอบ ก. โปแตสเซียมเปอร์แมงกาเนส
ข. KMnO4
18. จากการทดลองในห้องปฏิบัติการสารที่ทำให้ enzyme catalase หยุดการทำงานได้มีชื่อและสูตรทางเคมีอย่างไร
ตอบ ก. กรดซัลฟิวริกส์
ข. H2SO4
19. ในการทดลองเรื่อง enzyme catalease พบว่า enzyme ทำงานได้ดีที่สุดที่อุณหภูมิและ pH ใด
ตอบ ก. อุณหภูมิ 30 c
ข. pH 7
20. จงบอกชื่อของสารที่สามารถ inhibit(ยั้บยั้ง) การทำงานของ enzyme catalease ได้
ตอบ ก. โซเดียมเอไซด์ (Sodium aside)
ข. โซเดียมฟลูโอไรด์ (Sodium fluoride)
.........................................................................................................................................................................
การแบ่งเซลล์
21. ผลที่สำคัญที่ได้จากการแบ่งเซลล์คือ
ตอบ 1. จำนวนเซลล์ที่เพิ่มขึ้น มีการถ่ายทอดพันธุกรรมจากเซลล์แม่ไปยังเซลลูก
22. ในการแบ่งเซลล์แบบไมโตซีส จำนวนโครโมโซมของเซลลูกและเซลแม่เป็นอย่างไร
ตอบ 2. เซลล์ลูกมีโครโมโซมเท่ากับเซลล์แม่
23. ถ้าสัตว์หรือพืชที่มีจำนวนโครโมโซมเป็นเลขคี่ จะมีผลอย่างไร
ตอบ 3. สัตว์หรือพืชนั้นมีโอกาสเป็นหมันสูง
24. ระยะใดของการแบ่งเซลล์แบบไมโตซีสที่ใช้เวลานานที่สุด
ตอบ 1. ระยะโปรเฟส
25. คนแก่อายุ 70 ปี มีเซลล์ส่วนใดที่ยังสร้างใหม่
ตอบ 4. เซลล์ในโพรงกระดูกี่สร้างเซลล์เม็ดเลือดแดง
.....................................................................................
การสังเคราะห์แสง
26. ในการทดลองเรื่องการสังเคราะห์แสง , ท่าเป่าอากาศลงในสารละลายในหลอดทดฃอง เพื่ออะไร
ตอบ 3. เพิ่ม CO2 ในสารละลาย
27. ในการทดลองเรื่องการสังเคราะห์แสง , ท่านใช้สารอะไร เป็น indicator ( สารที่เติมลงไปแล้วเปลี่ยนสีเมื่อค่า pH เปลี่ยน
ตอบ 2. Phenol red
28. เราใช้สารอะไรทดสอบแป้งในใบพืช
ตอบ 2. I2 ละลายใน KI soln.
29. ในการทดลองเรื่อง paper chromatography รงควัตถุสีอะไรขึ้นได้สูงสุดบนกระดาษกรอง
ตอบ 3. สีเหลือง
30. จุดประสงค์หลักของการต้มใบพืชในแอลกอฮอล์ เพื่ออะไร
ตอบ 4. ทำให้รงควัตถุละลายออกจากเซลล์พืช
...................................................................................
การเจริญและการสืบพันธุ์
31. ก. เนื้อเยื่อนี้เรียกว่า fertilization membrane
ข. เนื้อเยื่อจากข้อ ก. มีหน้าที่อะไร
ตอบ ป้องกันไม่ให้อสุจิตัวอื่นเข้าไปผสมกับไข่ได้
32. ก. เซลล์นี้เรียกว่า cleavage cell หรือ blastomere
ข. เอ็มบริโอในระยะนี้เรียกว่า creavage state
33. ก. ช่องว่างนี้เรียกว่า blastocoele
ข. เอ็มบริโอในระยะนี้เรียกว่า blastula state
34. ก. ช่องว่างนี้เรียกว่า gastrocoel หรือ archenteron
ข.ช่อง(บริเวณ) ที่เซลมาชนกันแล้วยุบเข้าไป เรียกว่า blastopore (บลาสโตพอร์)
35. ก. ตัวอ่อนนี้เรียกว่า young bipinnaria larva
ข. เป็นตัวอ่อนของสัตว์พวก ดาวทะเล
.....................................................................................
เนื้อเยื่อสัตว์
36. ก. เนื้อเยื่อพืชรูปทรงที่เห็น เป็นเนื้อเยื่อประเภทใด
ตอบ parenchymm (พาเรงคิมา)
ข. สังเกตทราบได้อย่างไร
ตอบ มีช่องว่างระหว่างเซลล , สังเกตจากรูปร่างของเซลล์
37. ก. เป็นภาคตัดขวางของรูปร่างใดของพืช
ตอบ ลำต้น
ข. เป็นพืชชนิดใด
ตอบ พืชใบเลี้ยงคู่
38. ก. เนื้อเยื่อบริเวณปลายรากอ่อน ประกอบด้วยเนื้อเยื่ออะไร
ตอบ เนื้อเยื่อเจริญ (meristematic tissue หรือ meristems )
39. ก. เป็นภาคตัดขวางของโครงสร้างใดของพืช
ตอบ ราก (ของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว)
ข. สังเกตทราบได้อย่างไร
ตอบ มีท่อลำเลียงกระจายอยู่ภายนอก
40. ก. เป็นเนื้อเยื่อประเภทใด
ตอบ เนื้อเยื่อผิว ( epidermis )
ข. พบในใบของพืชกลุ่มใด
ตอบ พืชใบเลี้ยงคู่ , พืชใบเลี้ยงเดี่ยว พืชบนบก
...................................................................................
41. ก. พืชที่เห็นในภาพนี้มีชั่วรุ่น (generation) ใดเด่น
ตอบ แกมีโทไฟต์
ข. ทำไมพืชกลุ่มนี้ไม่เป็นใบและลำต้นที่แท้จริง
ตอบ ไม่มีท่อลำเลียง
42. ก. ลักษณะเป็นเม็ด 3 พู คือ sporangium
ข. มีหน้าที่ เป็นอวัยวะสร้างสปอร์
43. ก. พืชทั้งสองภาพนี้สร้างอวัยวะผลิตสปอร์ ปลายกิ่ง เรียกเป็นศัพท์เทคนิคว่า
ตอบ stobilus
ข. พืชซ้ายมือจัดอยู่ในหมวด (Division) ใด
ตอบ Arthrophyta
44. ก. อวัยวะพืชที่ขยายโครงสร้างให้เห็นนี้เรียกว่า
ตอบ stobilus
ข. พบในพืชกลุ่มใด
ตอบ coniferophyta
45. ก. รังไข่จัดอยู่ในชั้นหรือวงใดของดอก
ตอบ วงที่สี่
ข. รังไข่จะพัฒนาเป็นอวัยวะใดของพืช
ตอบ ผล
....................................................................................
การหายใจ
46. การทดลองเรื่องการหายใจ จงตอบคำถาม
1.1 Substrate ของขบวนการหายใจ คือ กลูโคส
1.2 Glycolysis เกิดขึ้นที่ส่วนใดของเซลล์ยีสต์ ตอบ ไซโทรพลาสซึม
47. ฟองก๊าซที่เกิดขึ้นในการทดลองเรื่องการหายใจ
1.1 คือก๊าซอะไร ตอบ คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)
1.2 เกิดขึ้นในขั้นตอนใดของขบวนการหายใจ ตอบ Krab's cycle
48. สารที่ทำหน้าที่ยั้บยั้งขบวนการหายใจได้แก่
ตอบ 1. โซเดียมเอไซด์ (sodium aside) NaN3
2. โซเดียมฟลูโอไรด์ (sodium fluoride) NaN3
49. เหตุใด methylene blue จึงมีสีจางลง (ในการทดลองเรื่องการหายใจ)
ตอบ เพราะ methylene blue ทำหน้าที่รับ ไฮโดรเจน หรือ อิเล็กตรอน => จากสภาวะที่มีการหายใจ methylene blue จะทำหน้าที่เป็นตัวรับไฮโดรเจน หรือ อิเล็กตรอน จึงถูกเปลี่ยนสภาพซึ่งสังเกตุได้จากการหายไปของสีน้ำเงินโดย โทนสีของ หรือ อัตราการหายไปของสี ขึ้นอยู่กับความเข้มและประสิทธิภาพของสารยั้บยั้ง
50. พลังงานจากขบวนการหายใจเกิดขึ้นมากที่สุดในขบวนการใด
ตอบ วัฏจักรเครบส์ (Kreb's cycle หรือ citric acid cycle)
......................................................................................
kingdom protista
51. ก. สิ่งมี ชีวิตที่เห็นในภาพคือ แบคทีเรีย ( bacteria )
ข. ดำรงชีวิตอยู่ได้ด้วยการ ย่อยสลายสารอินทรีย์ , อาศัยสิ่งมีชีวิตอื่น
52. ก. สิ่งมีชีวิตที่เห็นในภาพคือ พารามีเซียม (paramecium)
ข. เคลื่อนที่ได้โดยใช้ ขน (cilia)
53. ก.สิ่งมีชีวิตที่เห็นในภาพคือ diatom
ข.เมื่อมีชีวิตอยู่สังเคราะห์แสงได้หรือไม่ ตอบ ได้
54. ก. สิ่งมีชีวิตที่เห็นในภาพ สืบพันธ์โดย วิธีการสร้างสปอร์
ข. สามารถสังเคราะห์แสงได้หรือไม่ ตอบ ไม่ได้
55. ก. สิ่งมีชีวิตที่เห็นในภาพคือ ไลเคน (lichen)
ข. มีชีวิตอยู่แบบ พึ่งพา (Symbiosis) ระหว่าง เชื้อรา ( ทำหน้าที่ดูดซับความชื้น) กับ สาหร่าย ทำหน้าที่สังเคราะห์แสง
.....................................................................................
อณาจักรสัตว์
56. ก. ปะการังจัดอยู่ใน class Anthozoa
ข. สัตว์ที่อยู่ใน class เดียวกันคือ กัลปังหา ,ดอกไม้ทะเล
57. ก. สัตว์ชนิดนี้จัดอยู่ใน class Amphineura ได้แก่ ลิ้นทะเล
ข. อาศัยอยู่บริเวณ นำทะเล
58. ก. สัตว์ชนิดนี้จัดอยู่ใน class Diplopoda (กิ้งกือ)
ข. มีอวัยวะขับถ่ายเรียกว่า mulpighin tubules
59. ก. ปลาฉลามจัดอยู่ใน class Chondrichthyes
ข. ปลาทูจัดอยู่ใน class Osteichthyes
60. สัตว์ใน class Mamalia ที่อาศัยอยู่ในน้ำ คือ
ตอบ ก. Orde Cetacea เช่น ปลาวาฬ , ปลาโลมา
ข. Order Sirenia เช่น พะยูน และ วัวทะเล
Sunday, March 2, 2008
Examination paper
Saturday, March 1, 2008
summer 2543
1. enzyme catalase ที่ใช้ในการทดลอง ณ ห้องปฏิบัติการได้มาจากอะไร
ตอบ
ก. น้ำตับสดบดละเอียด
ข. เม็ดเลือดแดง
2. เมื่อ enzyme catalase ทำให H2O2 แตกตัวโดยปฏิกิริยา Oxidation และ redution จะได้สารอะไร
ตอบ
ก. 2H2O
ข. O2
3. สารที่ใช้ทดสอบหาปริมาณ H2O2 ที่เหลือจากการทดลองในห้องปฏิบัติการมีชื่อเป็นภาษาอังกฤษและสีเป็นอย่างไร
ตอบ
ก. โปตัสเซียมเปอร์แมงกาเนส(KMnO4)
ข. สีม่วงแดง
4. ในการทดลองเรื่อง enzyme catalase พบว่า enzyme ทำงานได้ดีที่สุดที่อุณหภูมิลและ pH ใด
ตอบ
ก. 30 C - 37 C
ข. PH 7 - 7.4
5. จากทดลองในห้องปฏิบัติการ จงบอกชื่อสารที่สามารถ inhibit ในการทำงานของ enzyme catalase ได้
ตอบ
ก. Sodium azide (NaN3)
ข. Sodium Fluoride (NaF)
.....................................................................................
6. Iodine test ใช้ทดสอบคาร์โบไฮเดรทประเภท
ตอบ ก. poly saccharide
ในการทดลองคือ ตอบ ข. I2/KI
7. จากการทดลอง reducing sugar เป็นการทดสอบน้ำตาลประเภท
ก. mono saccharide
ซึ่งคือ ข. glucose
8. ก. การทดสอบพันธะเปปไทด์ให้สารละลายสี
ตอบ
ก. ม่วง ตรวจสอบได้จากการทำปฏิกิริยากับ CuSO4
ข. โปรตีนละลายได้ดีใน NaOH
9. ก.ไขมันละลายได้ดีใน CCl4
ข. Emulsification เป็นสารพวก ช่วยให้เกิดการรวมกันของน้ำกับน้ำมัน
10. ก. เมื่อต้มโปรตีน ทำให้โปรตีนแปรสภาพไปมีลักษณะ จับตัวเป็นก้อน ตกตะกอน
ข. จากการทดลองสารพวก polysaccharide จะถูกทำลายพันธะได้ด้วย กรด และ ความร้อน
.....................................................................................
11. ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์ที่ใช้ในการหาระยะการทำงานของเลนซ์ใกล้วัตถุคือ coavse adjustment knob
12. ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์ที่ใช้ในการปรับแสงไปยังวัตถุที่ศึกษา คือ
13. ภาพที่เห็นในกล้องจุลทรรศน์ เกิดห่างจากตา 10 นิ้ว เนื่องจาก body tube มีความยาว ประมาณ 160 mm
14. การใช้ oil immersion objective lens ต้องให้หน้าเลนส์จุ่มในน้ำมันเพื่อ ลดการหักเหของแสง
15. กล้องจุลทรรศน์ ที่สามารถแยกรายละเอียดของวัตถุได้ยิ่งเล็ก จะมีค่า resolution ยิ่งน้อย
.....................................................................................
16. ในการทดลองเรื่องการหายใจเราใช้น้ำตาลกลูโคสใส่ในหลอดดสอบเพื่ออะไร
ตอบ เพื่อเป็นอาหารของยิสต์
17. สาร Methylene blue มีความสำคัญอย่างไรในการทดลองเรื่องนี้
ตอบ เพื่อเป็นตัวทดสอบว่ามีการหายใจเกิดขึ้นหรือไม่
18. พลังงาน ATP เกิดขึ้นมากที่สุดในขั้นตอนใดของขบวนการหายใจ
ตอบ electron transport chain
19. ฟองก๊าซที่เกิดขึ้นในหลอดทดสอบคือ
ตอบ 1. น่าจะเป็นก๊าซ CO2
2. เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาในขั้นตอนใดของการหายใจ Kreb's cycle
20. จงยกตัวอย่างสารที่เป็นแหล่งพลังงานของสิ่งมีชีวิตพวก Heterotroph มาสัก 2 ชนิด
ตอบ 1. แป้ง
2. น้ำตาล
.....................................................................................
จงนำหมายเลขหน้าคำตอบต่อไปนี้เติมลงในช่องว่าง
1. Prophase 2. Metaphase 3. Anaphase 4. 2 chromatids 5. Karyokinesis
21. ในหนึ่ง Chromosome ประกอบด้วย 2 chromatids
22. ขบวนการแบ่ง Nucleus เรียกว่า Karyokinesis
23. centromere จะแบ่งตัวในระยะ Anaphase
24. ระยะ prophase จะเกิดขึ้นนานที่สุด
25. ผนังนิวเคลียสจะสลายไปหมดในระยะ Metaphase
.....................................................................................
26. ในการทดลองเรื่อง Photosynthesis เราใช้สารอะไรเป็น indicator
1. NaOH
2. Phenol red
3. CO2
4. Methylene blue
27. ในการทดลองเรื่อง photosynthesis เราเป่าอากาศลงในสารละลาย เพื่อเติมสารอะไรให้กับสารละลาย
1. O2 2. CO 3. N2 4. CO2
28. การทดลองเรื่องแสงและรงควัตถุมีอิทธิพลต่อการสังเคราะห์แสง เราใช้สารอะไรสกัดเอารงควัตถุออกจากใบพืช
1. acetone 2. Ether 3. Alcohol 4. Phenolphthalein
29. ในการทดลองเรื่อง paper chromatography รงควัตถุสีอะไร ขึ้นได้สูงสุดบนกระดาษกรอง
1. สีเหลือง 2. สีเขียว 3. สีน้ำเงิน 4. สีแดง
30. เราใช้สารอะไรในการทดสอบแป้งในใบพืช
1. I2 2. I2 ละลายใน KI'soln 3. KI 4. ถูกทุกข้อ
31. ก. จากภาพ วงเนื้อเยื่อเรียกว่าอะไร
ตอบ Vascular bundle
ข. เนื้อเยื่อที่แสดงในภาพจัดเป็น primary permanent tissue หรือ secondary permanent tissue
ตอบ primary permanent tissue
32. ก. simple permanent tissue ที่แสดงในภาพประกอบไปด้วยเซลล์อะไร
ตอบ perenchyma , collenchyma , sclenchyma
ข. complex permanent tissue ในภาพแสดงให้เห็นที่เนื้อเยื่อใด
ตอบ Xylem , pholem
33. ก. จากปฏิบัติการที่ศึกษาในเรื่องเนื้อเยื่อพืช เซลล์ที่พบในภาพได้มาจากส่วนใดของพืช
ตอบ กะลามะพร้าว
ข. คุณสมบัติของเซลล์ประเภทนี้มีผลอย่างไรต่อพืช
ตอบ ให้ความแข็งแรง
34. ก. เนื้อเยื่อส่วนใหญ่ในภาพนี้มีกำเนิดมาจากเนื้อเยื่อเจริญแบบใด
ตอบ Lateral Meristem
ข. เราสามารถพบเนื้อเยื่อแบบนี้ได้ในพืชประเภทใด
ตอบ ใบเลี้ยงคู่
35. ก. เนื้อเยื่อเจริญที่พบที่ปลายรากและปลายยอดของพืช ดังภาพเรียกว่าอะไร
ตอบ Apical meristem
ข. เนื้อเยื่อเจริญชนิดนี้ ให้กำเนิดเนื้อเยื่อถาวรแบบใด
ตอบ epidermis
.....................................................................................
36. การเรียงลำดับดังต่อไปนี้จากหน่วยใหญ่-> เล็ก ที่ถูกต้อง
ตอบ 3. ร่างกาย ระบบอวัยวะ อวัยวะ เนื้อเยื่อ เซลล์
37. ความหมายของคำว่า เนื้อเยื่อ ที่ถูกต้อง เป็นการรวมตัวกันของกลุ่มเซลล์ในลักษณะใด
ตอบ 2. เซลล์มีรูปร่างและหน้ามี่คล้ายกัน หรือเหมือนกัน ทำหน้าที่อย่างเดียวกันมีต้นกำเนิดจากกลุ่มเซลล์ชนิดเดียวกันตั้งแต่ระยะตัวอ่อน
38. ตัวอย่างของเนื้อเยื่อชนิด Squamous Epithelial ที่เรียงตัวชั้นเดียว คือ
ตอบ 2. เยื่อบุผิวข้างแก้ม
39. ตัวอย่างของเนื้อเยื่อชนิด Elastic Cartilage พบได้บริเวณใดของร่างกาย
ตอบ 1. ใบหัว กล่องเสียง
40. ข้อใดถูกต้องที่สุด เกี่ยวกับลักษณะของกล้ามเนื้อลาย และกล้ามเนื้อหัวใจ
ตอบ 3. กล้ามเนื้อลายตัวเซลล์ไม่มีแขนงไปเชื่อมกับอีกเซลล์ มีนิวเคลียสหลายอันอยู่ริมเซลล์ แต่ กล้ามเนื้อหัวใจมีแขนงไปเชื่อมกับเซลล์ข้างเคียง และมีนิวเคลียสหลายอันอยู่กลางเซลล์
.....................................................................................
41. เอมบริโอดาวทะเลในภาพ จัดเป็นเอมบริโอระยะใด
ตอบ 2. ระยะ blastula
42. จากข้อที่ 41 นักศึกษาทราลได้อย่างไร ว่า เอ็มบริโอในระยะนี้
ตอบ 1. มีการสร้างช่อง blastocoel
43. เยื่อที่ปลายศรชี้ คือเยื่ออะไร มีหน้าที่อะไร
ตอบ 4. fertilization membrane
44. ปลายศรชี้ท่อที่จัดเป็นเนื้อชั้นใด
ตอบ 3.endoderm
45. เซลล์ที่ปลายศรชี้ เรียกว่าอะไร
ตอบ 1. cleavage cell
.....................................................................................
46. ก. จุลินทรีย์ที่เห็นในภาพมีรูปร่างแบบใด
ตอบ coccus
ข. จัดอยู่ใน Kingdom ใด
ตอบ Monera (โมนีรา)
47. ก. Protozoa ในภาพมีชื่อเรียกว่าอะไร
ตอบ paramecium (พารามีเซียม)
ข. ใช้อะไรในการเคลื่อนที่
ตอบ ขน ( cilia )
48. ก. sexual spore ของตัวอย่างนี้เรียกว่าอะไร ( เป็นรูปเห็ด)
ตอบ Basidiospore (p.104)
ข. พบที่หมายเลขใด
ตอบ 3
49. จากตัวอย่างไลเคนในภาพพบว่าเชื้อราทำหน้าที่ ดูดซับความชื้น สาหร่ายทำหน้าที่ สังเคราะห์แสง
50. Diatoms มีรูปร่างสำคัญ 2 แบบคือ
ตอบ bileteral และ radial
51. จงบอก ลักษณะสมมาตรของภาพที่แสดงว่าเป็นแบบใด
ตอบ (รูปเค้ก ) แบบ Radial
(รูปผีเสื้อ) แบบ Bilateral
52. ภาพสัตว์ที่แสดงได้รับการจัดหมวดหมู่คือ
ก. Class Cestoda
ข. ตำแหน่งที่ลูกศรชี้เรียกว่า sucker
53. ภาพที่แสดงเป็นสัตว์ที่ (sea anemone)
ก. อาศัยอยู่ในน้ำทะเล หรือ น้ำจืด
ตอบ น้ำทะเล
ข. จัดอยู่ใน Phylum Cnidaria (ไนดาเรีย) หรือ Coelenterata
54. ภาพสัตว์ที่แสดงได้รับการจัดหมดหมู่คือ (รูปมด)
ก. Class Arachnoldea
ข. Phylum Arthropoda
55. ภาพสัตว์ที่แสดงได้รับการจัดหมวดหมู่ คือ (รูปกบ)
ก. Class Amphibia
ข. Phylum Chordata
ค. Subphylum Vertebrata
56. ก. พืชที่เห็นในภาพจัดอยู่ในชั่วรุ่น หรือ ระยะ (generation)ใด
ตอบ สปอโรไฟต์
ข. พืชในชั่วรุ่นนี้สร้างอวัยวะเพศเมียเรียกว่า อาร์คีโกเนียม (archegonium) เพื่อผลิตไข่
57. ก. อวัยวะ C เรียกว่าอะไร
ตอบ ซิแนนเจีย (Synangia)
ข. ลักษณะเป็นเม็ดภายในอวัยวะดังกล่าวเรียกว่า ไมโอสปอร์(Miospore)
58. ก. พืชดอก เมล็ดเกิดในอวัยวะใด
ตอบ รังไข่ (Overy)
ข. อวัยวะในข้อ ก. พัฒนามาจากส่วนใดของดอก
ตอบ เกสรเพศเมีย (pistil)
59. ก. พืชชนิดนี้สร้างโครงสร้างเป็นสีน้ำตาลด้านท้องใบเรียกว่า ซอรัส (sorus)
ข. ภายในโครงสร้างมีลักษณะเป็นเม็ดสามารถเจริญเป็นระยะหรือชั่วรุ่นใด
ตอบ สปอร์โรไฟต์ (sporerophyte)
60. ก. พืชชนิดนี้สร้างอวัยวะเพื่อผลิตเมล็ดเรียกเป็นศัพท์เทคนิคว่า Gymnosperm
ข. เมล็ดพืชชนิดนี้เกิดจากโครงสร้างเรียกว่า สตรอบิลัส ( strobilus )
Subscribe to:
Posts (Atom)